
คน 4 ประเภท ที่เรียกได้ว่า… “โง่” ใส่ใจไปก็ไร้ค่า คว รปล่อยไปตามก ร ร มของเขาเถอะค่ะ
และเรามาดูกันว่าเป็นยังไงบ้าง…
1. ชอบโยนความผิ ด
ถ้าคนธรรมดาทำผิ ด ก็จะรับ และใช้เป็นบทเรียน พร้อมปรั บปรุงแก้ไขในวันต่อไปไม่ให้ผิดอีก
แต่ถ้าผิดแล้วโยนความผิดให้คนอื่นเรียกว่า…
“ไม่ฉลาด” แค่นี้ก็ไม่รู้ว่าตัวเองผิ ด แค่นี้ก็ไม่กล้าปรับปรุงก็เลยเป็นอยู่อย่างนั้นซ้ำๆซๅกๆ
ถ้าเจอคนแบบนี้ อย่ารู้จักจะดีกว่าเนอะ
ปล่อยเขาไปตาม เ ว ร ตาม ก ร ร มเถอะ…เจ้าคะ
2. คิดว่าตัวเอง ถูกเสมอ
คิดว่าตัวเองถูกตลอด สังเกตุได้ว่า เวลามีข้อขั ด แ ย้ง จะเถี ยงแบบจริงจัง ไม่มีฟังชาวบ้าน
ใช้ตรรกะวิบั ติ เหตุผลวิบัติไปเรื่อยๆแถๆข้างๆคูๆ เพื่อเอาชนะเราก็เท่านั้น เจอคนแบบนี้
เงียบดีกว่าค่ะ จำไว้ว่า…เสื อไม่มีวันลดตัวไปกั ด กับ หม า ฉันใดก็ฉันนั้น เจ้าค่ะ
3. ก้าวร้ า ว เพื่อกลบเกลื่อนสถานการณ์
มีการวิจัยมาว่า..พวกฉลาดน้อย จะก้าวร้ า วมากกว่ า เมื่อคุ ม ส ถานการณ์ไม่อยู่ เห ตุ ก ารณ์ไม่เป็นดั่งที่คิด
จะมีอาการโ ม โ ห ก้าวร้ า วกลบเกลื่อน หวังสยบให้ จบข่ า ว
เจอไม้นี้ ให้เดินหนีทันทีค่ะ ไม่ต้องพูดอะไรต่อทั้งสิ้น
คนพวกนี้จะรู้สึกค้างคๅใจ เพราะเหมือนเค ลี ย ร์ไม่จบแล้วอาจจะรู้สึกอึดอัดจนทนไม่ได้ไปเอง
4. เหนือตลอด
ไม่ใช่ทิศเหนือ – ใต้ แต่เป็นการมองว่าตั วเองดีกว่าคนอื่น เสีย ด สี ติติง คนอื่นให้ตัวเองดูดี
ตัดสินโดยมีความลำเอี ยง เกาะติดตลอด มีวิจัยว่า… พวกไอคิวต่ำจะรับอะไรได้ยๅก
เข้าใจอะไรยๅก ไม่เหมือนพวกฉลา ด ที่พร้อมจะเข้าใจเห็นใจ ทำอะไรให้ใ ครช่วยเหลือใครก็ไม่หวังผล
แต่คนไม่ฉลๅดจะไม่เ ข้าใจเรื่องแบบนี้ เพราะมีอัตตาสูง เมื่อให้แปลว่าต้องได้รับตอบแทน
“ก็คนอย่างฉันอุตส่าห์ให้คนอย่างเธอประมาณนั้น” เมื่อเจอ แบบนี้วิธีที่น่าจะดี คือ เงียบ
มันไม่มีประโยชน์อะไร กับกา รเถี ยงกับคนโง่ ถ้าต้องคุย ก็เอาเฉพาะสิ่งที่เกี่ยวให้ตรงประเด็น หรือ
หยุดได้ก็หยุดดีกว่า เล็ ง จังหวะที่ควรจะหยุด อย่าพยายามเอาชนะ เพราะจะ ไม่มีวันชนะคนแบบนี้
และยิ่งบ้ าด้วยนี่ ต้องปล่อยให้เ ป็นไป ตามก ร ร ม จะใช้เหตุผล หลั ก ฐ านอะไรมา ให้ดูก็คงไม่สน
พบเจอคนแบบนี้ ควรวิ่งห นีไปให้ไกลดีกว่าค่ะ
คนพาล หมายถึง คน ชั่ ว ร้ า ย คนเกเร คนที่คิดชั่ ว พูดชั่ วและทำเรื่องที่ชั่ ว ร้ า ย
ดังคำกลอนที่ว่า “คบคนพาล พาลพา ไปหาผิด คบบัณฑิต บัณฑิตพาไปหาผล”
ดังนั้น เราจึงควรถอยหนีห่าง ไม่คบค้ า ส ม า ค ม กับบุคคลเหล่านี้
“เราห้ามให้เขาทำชั่ วไม่ได้ แต่เราเลือกที่จะไม่ไปยุ่งเกี่ยวกับคนเหล่านั้นได้”
พระบรมราโชวาทในหลวงรัชกาลที่ ๙