
มีเรื่องเล่าเรื่องหนึ่งว่า วัยรุ่นคนหนึ่ง ขอเงินแม่ไปเที่ยว แม่บอกว่า ลูกรู้ไหมว่าสมัยแม่อายุเท่าลูก
ไม่เคยเที่ยวที่ไหนต้องทำงานทุกอย่างพับถุงกระดาษขายตัดใบตองขนไปส่งข า ย ในตลาด
แต่ละบาท แต่ละสต างค์ต้องอาบเหงื่อต่างน้ำลูกนั่งฟังแม่เงียบๆ ลูกต้องรู้จักความลำบาก
ไม่งั้นอีกหน่อยเกิดไม่มีแม่แล้วจะทำยังไง ซักผ้าเองยังไม่ได้ ขึ้นรถเมล์ ก็ไม่เป็นใช้เงิน
อย่างนี้ จะเอาตัวรอดได้ยังไง เมื่อแม่เทศน์จบ ก็ควักเ งิ นยื่นให้ลูก นี่ไม่ใช่เรื่องแต่ง
พ่อแม่จำนวนมากทำอย่างนี้ เมื่อลูกขอเงินไปเที่ยว จะพร่ำบ่นลูก
และเล่าเรื่องเมื่อตนเผชิญความลำบาก ในสมัยก่อน เล่าย้อนไปถึงชีวิตลำบาก ของตนในวัยเท่ากัน แล้วปิดท้ายด้วยการให้เงินลูกไป
คนหาเช้ากินค่ำ สมัยก่อนไม่มีคำว่า ม ร ด ก ในพจนานุกรมชีวิตทุกอย่าง ในชีวิตต้องหามาเอง
ทว่า คนรุ่นนี้เมื่อลืมต า อ้าปากได้และเป็นพ่อแม่ มักจะทำให้ลูกเสี ยคน โดยไม่ตั้งใจ
พ่อแม่จำนวนมาก เก็บเงินเก็บทองไว้ โดยไม่ยอมใช้ บอกว่า เก็บไว้ให้ลูก
เหตุผลอาจเพร า ะ พ่อแม่ไม่ อย ากให้ลูกผ่านความลำบากเหมือนตัวเอง
การเตรียมทุกอย่างให้ลูก เหมือนสะท้อนสิ่งที่ตัวเอง
อยากได้ในวัยเด็กแต่มันกลับสร้างนิสัยไม่สู้งานหนักให้ลูกไปโดย ป ริ ย า ย
ไม่มีเงินเป็นปัญหามี งิ นก็เป็นปัญหา บางครั้งการมีเ งิ น มาก อาจทำให้เลี้ยงลูก ย าก ขึ้น
เงิ นก็เหมือนไขมันในร่างกายน้อยไปก็ไม่ดี มากไปก็ อั น ต ร า ย ในสังคมบูชาคนร ว ย
และการร ว ย ทางลัดการอบรมสั่งสอนลูก เดี๋ยวนี้ย าก ขึ้น เ พ ร า ะ สิ่งเร้ารอบตัวทางเดียว
ที่จะให้ลูกโตขึ้นแล้วยืนด้วย ลำแข้งของตัวเองได้ คือ ต้องสอนเรื่องวินัย การใช้เ งิ น
และความอ ดทน การรู้จักใช้ชีวิตและรับผิ ดชอบตัวเอง อ ย่ า สร้างปัญหาแก่ สังคม
ไม่พอ กพูนด้วยไ ขมันแห่งวัตถุนิยมมากเกินไป พ่อแม่ต้องมองภาพกว้าง
และมองให้ออ กว่า หากให้มากเกินไป จะทำให้ลูกไม่รู้จัก หามาด้วยตัวเอง
หรือไม่ทำอะไร ไม่เป็นเลยหรือเปล่า กล า ยเป็นรอแต่แบมือขออย่ างเดียว ความรักย่อมเป็นเรื่องดี
แต่ต้องรักให้ถูกวิธีด้วย “คนรว ย” ที่ฉลาดรู้ว่าการได้เ งิ น เป็นเรื่องง่ายกว่า การใช้เ งิ น
และคนที่ไม่รู้จักหาเ งิ น มัก ใช้จ่ายเ งิ นฟุ่มเฟือย คนที่ร ว ยจากสมบัติที่ได้มาง่ายๆ
จากม ร ด กอาจจะ ข า ด ความรู้สึกดีๆ ของการสร้างตัวด้วยตัวเอง ข า ดความภาคภูมิใจ ของการหามาได้
และทักษะการแก้ปัญหาชีวิต มีตัว อ ย่ าง จริงไม่น้อย ที่คนร ว ยแบ่งสมบัติครึ่งหนึ่ง
ให้องค์กรการกุศลและที่เหลือให้ลูกหลาน เพื่อให้ลูกๆเรียนรู้ ที่จะยืนด้วยตัวเอง
และสร้างมันขึ้น มา ใหม่มหาเ ศ ร ษ ฐีลำดับต้นๆ ของโลก อ ย่ า ง “วอร์เรนบัฟเฟตต์” บอกว่าลูกๆ ของเขา
จะต้องแผ้วถางทาง ของพวกเขาเอง แน่นอนลูกๆของเขาก็รู้ว่า เขารอช่วยทุก อ ย่ า ง
แต่ก็ต้องลงแรงทำงาน การให้เ งิ นทองแก่ลูกหลาน ด้วยจำนวนที่มาก พอสบายทั้งชีวิต
เพียงเ พ ร า ะพวกเขาเกิดมา ในครอบครัวที่ร่ำร ว ย เป็นเรื่องอันตราย
เพราะการให้อาจ ทำ ร้ า ย ลูกๆทางอ้อม บัฟเฟตต์ จึงให้ม ร ด กแก่ลูกหลาน มากพอที่พวกเขารู้สึกว่า
สามารถทำอะไรก็ได้ แต่ไม่มากพอที่พวกเขาไม่ต้องทำอะไรเลย เราต้องสอนค่านิยมชื่นชมบุคคล
ที่สร้างตนเองจากศูนย์ หาเ งิ น อ ย่ า ง สุจริตรู้คุณค่า ของการทำงานการสร้างตัว
สิ่งที่ควรให้ลูกๆมากกว่า เ งิ นก็คือความเอา ใจใส่รับรู้ กิ จ ก ร ร ม ที่ลูกทำ เป็นเพื่อนกับลูก
นี่อาจเป็นสิ่งที่มีค่ากว่าการให้เงินอย่างเดียวตามสุภาษิตที่ว่า “สอนลูกจับปลา ไม่ใช่จับปลาให้ลูก”
การให้เงินลูกก็เหมือนการหยิบยื่นชิ้นปลาให้
การให้ลูกทำงานก็เหมือนการสอนให้เค้าหาปลาเอง
ถ้าเรามัวแต่หยิบยื่นเงินให้เค้า พอหมดก็ให้ใหม่ เค้าคงไม่รู้ว่าปลาที่ได้มานั้น มันได้มายังไง ยากแค่ไหน
เมื่อเค้าโตพอที่จะเรียนรู้ จงค่อยๆบอกค่อยๆสอนให้รู้จักอุปกรณ์ตกปลา แหล่งของปลา
วิธีจับปลา วิธีนำปลามาทำอาหาร และวิธีถนอม เก็บรักษาปลา หากหาปลามาได้เยอะ แต่กินทิ้งกินขว้าง
หรือไม่รู้วิธีเก็บ ปล่อยให้ปลาเน่า ก็น่าเสียดาย ว่าไหม…
ก็เหมือนกับคนที่หาเงินได้เยอะ แต่เก็บเงินไม่เคยอยู่ บริหารไม่เคยเป็น
ที่มา b i t c o r e t e c h fahhsai