Home การเงิน “คนที่ให้คุณยืมเงิน” ไม่ใช่ว่า…เขารวย (อ่านแล้วจะเห็นความจริงที่เขาคิดก่อนให้ยืม)

“คนที่ให้คุณยืมเงิน” ไม่ใช่ว่า…เขารวย (อ่านแล้วจะเห็นความจริงที่เขาคิดก่อนให้ยืม)

10 second read
ปิดความเห็น บน “คนที่ให้คุณยืมเงิน” ไม่ใช่ว่า…เขารวย (อ่านแล้วจะเห็นความจริงที่เขาคิดก่อนให้ยืม)
1

คนที่กล้า ให้คุณยืมเงิน คือ “ผู้อุปถัมภ์” ของคุณ

คนประเภทนี้มีน้อยมากแล้วในสังคมทุกวันนี้

หากคุณมีวาสนาได้พบเจอ ต้องสำนึกคุณไปชั่ วชีวิต

ตอนที่คุณลำบากเรื่องคน แล้วมีคนยื่นมือเข้ามาช่วยพยุงคุณ ไว้ไม่ใช่ว่า..เพราะเขามีเงินมาก

แต่เพราะน้ำใจของเขาที่อย ากฉุดคุณ ให้ขึ้นจากหุบเหวของความลำบากที่ให้คุณยืมนั้นมันไม่ใช่เงิน

แต่มันคือความเชื่อใจความไว้ใจและกำลังใจ เพราะเชื่อในศักยภาพของคุณ

เพื่อให้คุณพ้นจากความลำบากในตอนนั้นหวังว่าคุณทั้งหลายที่เป็นคนยืมเงินอย่าได้เหยี ย บ ย่ำ คำว่า “น้ำใจ”

ที่ใครเขาให้มาเพราะคำว่า เสียสัจจะ คือ “การล้มละล าย”  ที่สาหั ส ที่สุดในชีวิตคนเรา

ต้องระวังไว้ให้ดีมิตรสหายที่จริงใจ คือทรัพย์สมบัติที่ประเสริฐที่สุดในชีวิตในขณะเดียวกัน

ขอให้คุณพึงระลึกไว้เสมอว่า คนที่ชอบจ่ายเงินก่อน ไม่ใช่เพราะเขาอวดว่ามีเงินมาก

แต่เป็นเพราะเขาเห็นว่า “มิตรภาพ” สำคัญ กว่าราคาอาห าร ในมื้อนั้นคนที่ยอมยกผลประโยชน์ให้คุณมากหน่อย ตอนร่วมหุ้นนั้นไม่ใช่เพราะ “เขาโ ง่”

แต่เป็นเพราะเขารู้จักแบ่งปั น คนที่ยอมทำงานมากกว่าคนอื่น ไม่ใช่เพราะ “เขาโ ง่”

แต่เป็นเพราะเขาอย ากรับผิดชอบในหน้าที่และ เขารักองค์กรคนที่ยอมขอโทษก่อนเวลาทะเลาะกัน ไม่ใช่เพราะ “เขาผิด”

แต่เป็นเพราะเขายังแคร์ความรู้สึกของคุณอยู่คนที่ยอมช่วยเหลือคุณไม่ว่าเรื่องใด ไม่ใช่เพราะ “เขาเป็นหนี้คุณ”

แต่เป็นเพราะเขาเห็นคุณเป็นเพื่อนแท้คนอื่นช่วยเหลือคุณนั่นเป็นเรื่องของ “น้ำใจ”

“ที่ไม่ช่วยเหลือคุณนั่นก็เป็นเรื่องของเขา”

คนเป็นจำนวนมากแสดงท่าทางโกรธแค้นที่คนอื่นไม่ยอมให้ยืมเงินทั้งที่คุณไม่มีสิทธิ์ที่จะโกรธแค้ น เขาเลย

คนบางคนกลับทำตัวฉลาดยืมแล้วไม่ยอมคืน คนประเภทนี้สักวันหนึ่งจะหมดค่าในสายตาของผู้คน

หากการได้พบการได้รู้จักกันคือวาสนาการจะคบหากันให้ย าวนานต้องอาศัย “สัจจะ” และความจริงใจ

7 ข้อคิดก่อนให้เพื่อน “ยืมเงิน” ก่อนคุณจะเสียทั้งเงินและเพื่อน

1. ยิ่งเราสนิทกับคนที่จะยืมเงินเรามากเท่าไหร่ โอกาสที่จะได้คืนก็มีความเสี่ ย ง

ยกตัวอย่างกรณี ถ้าคนที่จะยืมเงินมีหนี้หลายคน เค้าจะเลือกจ่ายหนี้ให้กับคนที่เค้าเกรงใจก่อน

ส่วนคนสนิท หรือ คนรู้จักมักได้คิวหลังๆ

2. “เราชอบปฏิเสธ” คนที่จะมายืมเงิน โดยให้เหตุผลว่า ไม่อย ากเสียเพื่อนหรือคนรู้จัก

เรื่องเงินเราขอไม่ช่วยเพราะว่าเราก็มีภาระ แต่ถ้าเป็นเรื่องอื่นๆ เรายินดีช่วยเต็มที่

(แล้วถ้าเค้าขอ…ก็ต้องช่วยเค้าจริงๆ นะคะ) อย่างนี้ไม่เสียคน

3. “ถ้าทำตัวมีเงิน” โอกาสที่จะถูกยืม ขอตังค์ก็จะมีมากขึ้นไปด้วยค่ะ

4. “ระลึกไว้เสมอว่า” ให้ใครยืมเงินไป ให้นึกถึงด้วยว่าถ้าหนี้ก้อนนั้น เป็นศูนย์เราต้องอยู่ได้

5. “ช่วงนี้บอลโลก” คนที่ติด ห นี้ พ นั น บอล หรือธุรกิจมืดอย่าให้ยืมเงิน เพราะโอกาสได้คืนต่ำมากๆ ค่ะ

6. “ยิ่งเงินก้อนใหญ่” ยิ่งมีโอกาสได้คืนย ากขึ้น เพราะลูกหนี้บางคนมองว่า เป็นภาระถ้าไม่ใช้มันคนเดียวก็สบายเราไปเลย

7. ยิ่งระยะผ่านไปนานเท่าไหร่ โอกาสได้เงินคืน ยิ่งย ากขึ้นเรื่อยๆ

ส่วนตัวมองว่า ยิ่งนานไป ความรู้สึกต้องรับผิดชอบที่ยืมเงินมามันจะลดลงเรื่อยๆ

แล้วจะมองว่า ทำไมเราต้องจ่ายเงินให้มันด้วยน้อ….

สุดท้ายนี้ มีคำขวัญอันนึง เอามาฝากค่ะ

“ไม่ให้เพื่อนยืมเงิน เสียเพื่อนให้เพื่อนยืมเงิน เสียทั้งเงินเสียทั้งเพื่อน”

ทั้งนี้ทั้งนั้นไม่ได้ชี้นำว่า อย่าให้คนอื่นยืมเงิน เพราะเราก็ให้เพื่อนยืมอยู่บ่อยๆ

แต่ส่วนใหญ่ได้คืน แทบทั้งหมด เพราะเราให้คนที่เราไว้ใจ

และ รู้จักเขาจริงๆ ไม่ก็ให้พี่น้องยืม (ส่วนใหญ่ไม่ได้คืนค่ะ 555)

ที่มา : b a n g p u n s a r a,ป ร า จี น ไ ท ม์

มารยาทในการยืมเงิน

-ยืมแล้วไม่รู้จะคืนเมื่อไหร่..อย่ายืม

-ยืมแล้วไม่มีปัญญาคืน..อย่ายืม

-เวลาจะยืมพูดได้ (รับปาก) สารพัด ถึงกำหนด เป็นใบ้..อย่ายืม

-อีกประเภท ยืมแล้วคืนไม่ครบ อย่ายืม นึกถึงใจเขาใจเรา

Load More Related Articles
Load More By Nuttawat Pharawan
Load More In การเงิน

Check Also

8 นิสัยผู้ชาย..ที่ไม่ควรเอาเป็นพ่อของลูก และไม่ควรคบให้ เสียเวลา

ทุกวันนี้ผู้ชายดีมันก็มีน้อย แต่ใช่ว่า จะต้องรีบแ ย่ งก … …